เมนู

แห่งจิต วิริยินทรีย์ สมาธินทรีย์ มนินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ หรือ
นามมรรมที่อิงอาศัย เกิดขึ้น แม้อื่นใด มีในสมัยนั้น ธรรมเหล่านั้น ชื่อว่า
ธรรมเป็นอัพยากตะ ความรู้แตกฉานในธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า อัตถปฏิสัมภิทา
บัญญัติแห่งธรรมเหล่านั้น ย่อมมีด้วยนิรุตติใด ความรู้แตกฉานในอันกล่าว
ธัมมนิรุตตินั้น ชื่อว่า นิรุตติปฏิสัมภิทา. บุคคลรู้แตกฉานซึ่งญาณเหล่านั้น
ด้วยญาณใดว่า ญาณเหล่านี้ส่องเนื้อความนี้ ดังนี้ ความรู้แตกฉานในญาณ
ทั้งหลายนั้น ชื่อว่า ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.

แจกปฏิสัมภิทา 3 ด้วยกิริยาจิต 31 ประเภท


ปฏิสัมภิทา 3 คือ
1. อัตถปฏิสัมภิทา
2. นิรุตติปฏิสัมภิทา
3. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา
ธรรมเป็นอัพยากตะ

เป็นไฉน ?
มโนวิญญาณธาตุ อันเป็นกิริยา ไม่ใช่กุศล ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่
กรรมวิบาก สหรคตด้วยโสมนัส สัมปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้น ฯลฯ สหรคตด้วย
โสมนัส สัมปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้นโดยมีการชักจูง ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัส
วิปปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้น ฯลฯ สหรคตด้วยโสมนัส วิปปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้น
โดยมีการชักจูง ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขา สัมปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้น ฯลฯ
สหรคตด้วยอุเขกขา สัมปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้นโดยมีการชักจูง ฯลฯ สหรคต
ด้วยอุเบกขา วิปปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้น ฯลฯ สหรคตด้วยอุเบกขา วิปปยุต
ด้วยญาณ เกิดขึ้นโดยมีการชักจูง ฯลฯ ย่อมเจริญรูปาวจรฌาน ฯลฯ ย่อมเจริญ

1. มหากิริยาจิต 8, 2. รูปาวจรกิริยาจิต 5, 3. อรูปาวจลกิริยาจิต 4.

อรูปาวจรฌาน อันเป็นกิริยา ไม่ใช่กุศล ไม่ใช่อกุศล และไม่ใช่กรรมวิบาก
เป็นทิฏฐธัมมสุขวิหาร เพราะก้าวล่วงอากิญจัญญายตนะ โดยประการทั้งปวง จึง
บรรลุจตุตถฌานอันสหรคตด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ฯลฯอยู่ในสมัยใด
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอัพยากตะ
ความรู้แตกฉานในธรรมเหล่านั้น ชื่อว่า อัตถปฏิสัมภิทา บัญญัติแห่งธรรม
เหล่านั้น ย่อมมีด้วยนิรุตติใด ความรู้แตกฉานในอันกล่าวธัมมนิรุตตินั้น ชื่อว่า
นิรุตติปฏิสัมภิทา บุคคลรู้แตกฉานซึ่งญาณเหล่านั้น ด้วยญาณใดว่า ญาณ
เหล่านี้ส่องเนื้อความนี้ ดังนี้ ความรู้แตกฉานในญาณทั้งหลายนั้น ชื่อว่า
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
[788] ปฏิสัมภิทา 4 คือ
1. อัตถปฏิสัมภิทา
2. ธัมมปฏิสัมภิทา
3. นิรุตติปฏิสัมภิทา
4. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา
ปฏิสัมภิทา 3 ย่อมเกิดในจิตตุปบาทที่สัมปยุตด้วยญาณฝ่ายกามาวจร-
กุศล 4 ดวง ในจิตตุปบาทที่สัมปยุตด้วยญาณฝ่ายกิริยา 4 ดวง อัตถปฏิ-
สัมภิทา
ย่อมเกิดในจิตตุปบาทเหล่านั้นด้วย ย่อมเกิดในมรรค 4 ผล 4 ด้วย.
อภิธรรมภาชนีย์ จบ

ปัญหาปุจฉกะ


[789] ปฏิสัมภิทา 4 คือ
1. อัตถปฏิสัมภิทา
2. ธัมมปฏิสัมภิทา
3. นิรุตติปฏิสัมภิทา
4. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา

ติกมาติกาปุจฉา - ทุกมาติกาปุจฉา


บรรดาปฏิสัมภิทา 4 ข้อไหนเป็นกุศล ข้อไหนเป็นอกุศล ข้อไหนเป็น
อัพยากตะ ฯลฯ ข้อไหนเป็นสรณะ ข้อไหนเป็นอรณะ ?

ติกมาติกาวิสัชนา


[790] ปฏิสัมภิทา 4 เป็นกุศลก็มี เป็นอัพยากตะก็มี.
เป็นสุขเวทนาสัมปยุตก็มี เป็นอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุตก็มี.
ปฏิสัมภิทา 3 เป็นวิปากธัมมธรรมก็มี เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
ก็มี, อัตถปฏิสัมภิทา เป็นวิบากก็มี เป็นวิปากธัมมธรรมก็มี เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมก็มี.
ปฏิสัมภิทา 3 เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ, อัตถปฏิสัมภิทา เป็นอนุปา-
ทานิยะก็มี เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะก็มี.
ปฏิสัมภิทา 3 เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ, อัตถปฏิสัมภิทา เป็นอสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกะก็มี เป็นอสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะก็มี.